Analysis of Online Resources Cataloging (ORC) using metadata by the Information Science students: Implication for instruction
Keywords:
การลงรายการทรัพยากร:, ดับลิน คอร์ เมทาดาทา, เมทาดาทา, สารสนเทศศาสตร์Abstract
บทคัดย่อ
จัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ สมมูลสารสนเทศออนไลน์ โดยใช้ดับลินคอร์ มหา
คาทา ของนิสิตหลักสูตรสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในรายวิชาการจัดระบบสารสนเทศ 2 และนําผลการ วิเคราะห์ไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงวิธีการสอนการลงรายการให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยดําเนินการรวบรวม ข้อมูลจากแบบทดสอบการลงรายการ โดยใช้ดับลินคอร์เมทาดาทาและการสัมภาษณ์นิสิต ที่เรียนในรายวิชาการจัดระบบ สารสนเทศ 2 จํานวน 38 คน ซึ่งผลการวิจัยพบว่า หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวกับเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ การลง รายการที่ไม่ถูกต้อง พบมากที่สุดในชุดหน่วยข้อมูลขอบเขต (Coverage) ร้อยละ 97.37 และ ชุดหน่วยข้อมูลย่อยที่มีการลง รายการที่ไม่ถูกต้องน้อยที่สุดคือ ชุดหน่วยข้อมูลย่อยภาษา (Language) มีเพียงร้อยละ 60.00
ชุดหน่วยข้อมูลย่อยผู้แต่งหรือเจ้าของงาน (A
โดยพบมากที่สุดใน
ชุดหน่วยข้อมูลย่อยผู้แต่งหรือเจ้าของงาน (Author OR Creator) ร้อยละ 94.74 และชุดหน่วยข้อมูลย่อยที่มีการลงรายการที่ ไม่ถูกต้องน้อยที่สุดคือ ชุดหน่วยข้อมูลย่อยสิทธิ (Right) ร้อยละ 89.47 และหน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวกับรูปแบบที่ปรากฏให้ ใช้งาน จํานวน 5 หน่วยข้อมูลย่อย พบว่า ส่วนใหญ่มีการลงรายการที่ไม่ถูกต้อง พบมากที่สุดในชุดหน่วยข้อมูลย่อยรูปแบบ ของการนําเสนอผลงาน (Format) ร้อยละ 81.58 และชุดหน่วยข้อมูลย่อยที่มีการลงรายการที่ไม่ถูกต้องน้อยที่สุดคือ ชุด หน่วยข้อมูลย่อยตัวบ่งชี้หรือตัวระบุถึงทรัพยากร (Resource identifier) ร้อยละ 58.95
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 อินฟอร์เมชั่น ✍ Information
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Information
How to Cite
Most read articles by the same author(s)
- ฤทัย นิ่มน้อย, ภาธร นิลอาธิ, การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ผ่านฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด (OPAC) ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม , อินฟอร์เมชั่น ✍ Information: Vol. 24 No. 2 (2017): อินฟอร์เมชั่น ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560)