Auditing the catalogue accuracy of the Thai books in the information resources database of Burapha University Library
Keywords:
การตรวจสอบความถูกต้อง, การตรวจสอบรายการหนังสือ, การลงรายการหนังสือภาษาไทย, ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ, สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพาAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการลงรายการหนังสือภาษาไทยตามรูปแบบมาร์ก 21 (MARC 21) และตามหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกล-อเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม (AACR2R) และ (2) เพื่อ กําหนดแนวทางในการพัฒนาฐานข้อมูลรายการหนังสือภาษาไทยให้มีความถูกต้อง มีความสมบูรณ์ มีความคงที่ มีความ ทันสมัย เพื่อช่วยให้การสืบค้นสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ระเบียนรายการหนังสือ ภาษาไทยที่บันทึกเข้าระบบระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ตั้งแต่เดือนเมษายน 2550 นับย้อนลงไป จํานวน 10,000 ระเบียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกการตรวจสอบความถูกต้องของการลงรายการ สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ผลการวิจัยในภาพรวมพบว่า ส่วนใหญ่ลงรายการตามเกณฑ์มาตรฐานตามรูปแบบมาร์ก 21 และตามหลักเกณฑ์ AACR2R ได้ถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป แบ่งจําแนกกลุ่มเขตข้อมูลโดยเรียงลําดับตามค่าคะแนนความ ถูกต้องที่ตรวจพบจากมากไปหาน้อยได้ข้อสรุปดังนี้ (1) การบันทึกค่ารหัสตามรูปแบบมาร์ก 21 ในเขตข้อมูลความยาวคงที่ (เฉพาะเขตข้อมูล 008) พบว่า มีความถูกต้องเกินกว่าร้อยละ 95 (2) การลงรายการตามรูปแบบมาร์ก 21 และการลงรายการตาม หลักเกณฑ์ AACR2R ในเขตข้อมูลความยาวไม่คงที่ (เขตข้อมูล 020-850) พบว่า กลุ่มเขตข้อมูลที่ลงรายการได้ถูกต้องร้อยละ
หลักเกณฑ์ AACR2R ในเขตข้อมูลความยาวไม่คงที่ (เขตข้อมูล 020-350)
100 ได้แก่ เขตข้อมูล 130 และ 630 กลุ่มเขตข้อมูลที่ลงรายการได้ถูกต้องเกินกว่าร้อยละ 99 ขึ้นไป ได้แก่ เขตข้อมูล 850, 700,
610, 100, 260, 082, 020, 650 และ 250 กลุ่มเขตข้อมูลที่ลงรายการได้ถูกต้องร้อยละ 90-98 ได้แก่ เขตข้อมูล 111, 300, 710, 245, 500, 008, 651, 246, 586, 830, 546 และ 110 กลุ่มเขตข้อมูลที่ลงรายการ ***
90 ได้แก่ เขตข้อมูล 600, 440, 653, 536 และ 490 กลุ่มเขตข้อมูลที่ลงรายการได้ถูกต้องน้อยกว่าร้อยละ 70 ได้แก่ เขตข้อมูล 041, 740 และ 505 (3) แนวทางใน
การพัฒนาโดยรัพยากรสารสนเทศ ในเขตข้อมูลความยาวคงที่ (เฉพาะเขต
ข้อมูล 008) ควรมีการพัฒนาการลงรายการในกลุ่มตําแหน่งต่าง ๆ อาทิ กลุ่มตําแหน่งบันทึกรหัสประเทศของสถานที่พิมพ์ (008/
15-17) บันทึกรหัสลักษณะเนื้อหา (008 24-27) บันทึกรหัส ...... หัสประเทศของสถานที่พิมพ์ (008/
(008/29) บันทึกรหัสหนังสือที่ระลึก (008/ 30) และบันทึกรหัสดรรชนี (008/31) สําหรับเขตข้อมูลความยาวไม่คงที่ (เขตข้อมูล 020-850) ควรมีการพัฒนาการลง รายการทรัพยากรสารสนเทศ โดยเรียงลําดับตามค่าคะแนนความผิดพลาดที่ตรวจพบจากมากไปหาน้อยในเขตข้อมูล 020, 041,
1 สําหรับเขตข้อมูลความยาวไม่คงที่ (เขตข้อมูล 020-
043, 082, 245, 246, 250, 440, 490, 505, 536, 586, 600, 653, 700, 710 uns 740
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 อินฟอร์เมชั่น ✍ Information
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Information